WORKSHOP

PLC เพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ในชั้นเรียน
PLC เพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ในชั้นเรียน

 17 ต.ค. 62  15.30-17.00  SAPPHIRE 202

วิทยากร / สังกัด :
รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร - ผู้ทรงคุณวุฒิ
ดร.เกศรา อมรวุฒิวร - นักวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ
นายสาธิต วรรณพบ - โรงเรียนตะกั่วป่า "เสนานุกูล"
ระดับชั้น : ประถมศึกษา, มัธยมศึกษาตอนต้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : วิทยาศาสตร์, สังคมศาสตร์, ภาษาไทย, การงานอาชีพ, เทคโนโลยีสารสนเทศ
เหมาะสำหรับ : ผู้อำนวยการ/ ครูใหญ่, ครู, ศึกษานิเทศก์, อาจารย์ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
ศาสตร์การสอน : ทักษะศตวรรษที่ 21

PLC เพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ในชั้นเรียน

วิทยากร / สังกัด
1) รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร ผู้ทรงคุณวุฒิ
2) ดร.เกศรา อมรวุฒิวร    นักวิชาการ
3) ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ
1) นายสาธิต วรรณพบ โรงเรียนตะกั่วป่า "เสนานุกูล"
2) นายกฤษฎา การะเกต โรงเรียนตะกั่วป่า "เสนานุกูล"
3) นางสาวจณิชญา ศิริปุณย์ โรงเรียนวัดโกรกแก้ววงพระจันทร์
4) นายมงคล สาระคำ   มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย
5) นายเชิดชัย แสนสุด มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย

รายละเอียด
แนวทางการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้หรือ  PLC  เกิดขึ้นเพื่อคัดกรองแนวทางปฏิบัติที่มีประโยชน์กับผู้สอนและผู้เรียนโดยแท้จริง โดยมีกลุ่มคนที่เป็นกลุ่มปฏิบัติคอยร่วมมือร่วมใจ ให้การสะท้อน และให้มุมมองในการศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่หลากหลาย ทั้งช่วงการวางแผนการสอน (Plan) ช่วงการศึกษาชั้นเรียน (Do) และการสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ (See) เพื่อแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และนี่ก็เป็นอีกกรณีศึกษาหนึ่งที่เกิดแนวทางที่ชัดเจนต่อการศึกษาชั้นเรียนที่ถูกรวบรวมมาเป็นเทคนิคสำรับครูเพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือ (Enhancing Literacy Skill in Classroom) ในการแก้ปัญหาผู้เรียนตามสถานการณ์ต่างๆ ตามบริบทของผู้เรียน ท้ายสุดเพื่อให้เกิดการเรียนการสอนที่เข้าถึงผู้เรียนได้อย่างทั่วถึงในชั้นเรียนนั่นเอง

รูปแบบกิจกรรม: บรรยาย สาธิตและลงมือปฏิบัติ

โดย สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา


TAG: #Plc #ความฉลาดรู้ #การสอนในศตวรรษที่ 21 #การออกแบบการจัดการเรียนรู้ #Active Learning